Jannah Theme License is not validated, Go to the theme options page to validate the license, You need a single license for each domain name.
แจกไฟล์

ดาวน์โหลด คู่มือการวิจัยในชั้นเรียน ปรับปรุงใหม่ สำหรับครูผู้วิจัย โดย สพม.สกลนคร

ดาวน์โหลด คู่มือการวิจัยในชั้นเรียน ปรับปรุงใหม่ สำหรับครูผู้วิจัย โดย สพม.สกลนคร

ดาวน์โหลด คู่มือการวิจัยในชั้นเรียน ปรับปรุงใหม่ สำหรับครูผู้วิจัย โดย สพม.สกลนคร

ดาวน์โหลด คู่มือการวิจัยในชั้นเรียน ปรับปรุงใหม่ สำหรับครูผู้วิจัย โดย สพม.สกลนคร

การปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นหนึ่งในข้อกำหนดสำคัญที่ระบุไว้ไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยในมาตรา 30 ระบุว่า “ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้ครูผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา” และ มาตราตรา 24 (5) ระบุว่า “ส่งเสริมสนับสนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม ส่งเสริมการเรียนและอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ” ดังนั้นจึงถือได้ว่าแนวทางพัฒนาการศึกษาด้วยกระบวนการวิจัยที่กำหนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับนี้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครูด้วยกระบวนการวิจัยของครูเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานไปพร้อมกัน

ตัวอย่างไฟล์คู่มือการวิจัยในชั้นเรียน

ดาวน์โหลด คู่มือการวิจัยในชั้นเรียน ปรับปรุงใหม่ สำหรับครูผู้วิจัย โดย สพม.สกลนคร
ดาวน์โหลด คู่มือการวิจัยในชั้นเรียน ปรับปรุงใหม่ สำหรับครูผู้วิจัย โดย สพม.สกลนคร

สุวิมล ว่องวาณิช (2559) ได้เสนอขั้นตอนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ซึ่งมีทั้งหมด 4 ขั้นตอน คือ 1) การวางแผนหลังจากที่วิเคราะห์และกำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการแก้ไข (Plan) 2)การปฏิบัติตามแผนที่กำหนด (Act) 3) การสังเกตผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน (Obsenve) 4) การสะท้อนผลหลังจากการปฏิบัติงานโดยให้ผู้ที่มีส่วนร่วมได้วิพากษ์วิจารณ์ ซึ่งนำไปสู่การปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติงานต่อไป (Reflect)

คู่มือนี้ขอสรุปขั้นตอนหรือกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้การผสมสาน จากแนวคิด
ดังกล่าวข้างต้น ขอเสนอเป็นลำดับขั้นตอน A-P-P-O-R ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอนในชั้นเรียน (Aกalysing)
ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดวิธีการแก้ปัญหา/แนวทวทางแก้ไข (Planning)
ขั้นตอนที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย/การแก้ปัญหา (Acting and Observing)
ขั้นตอนที่ 4 การสรุปผลการแก้ไขและการเขียนรายงานการวิจัย (Recting)

ขอบคุณที่มา : ดร.ไพบูรณ์ เกตวงษา ศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร

Related Articles

Back to top button
error: Content is protected !!